คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง
แบบทดสอบวิชา ทร02010 แผนพัฒนาความคิด(Mind Map)
1)  บุคคลใดเป็นผู้คิดค้นทฤษฎี Mind Map
  โทนี บูซาน
  อริส โตเติล
  มาริก ตอเวีย
  เซอร์ ไอแซก นิวตัน
   
2)  ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของการทำแผนพัฒนาความคิด (Mind Map)
  ทำให้สามารถวางแผนเส้นทางหรือตัดสินใจ ได้อย่างถูกต้อง
  ทำให้เห็นภาพรวมกว้าง ๆ ของหัวข้อใหญ่ หรือขอบเขตของเรื่อง
  ไม่สามารถรวบรวมข้อมูลจำนวนมากลงไว้ ในกระดาษแผ่นเดียว
  กระตุ้นให้คิดแก้ไขปัญหา โดยเปิดโอกาสให้ มองเห็นวิธีใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์
   
3)  ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของแผนพัฒนาความคิด
  ช่วยในการเรียนรู้ต่าง ๆ ของมนุษย์
  ใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ทุกเรื่องได้สำเร็จ
  สร้างจากสิ่งที่เป็นนามธรรมสู่รูปธรรม
  ใช้ในการทาการตัดสินใจ กรณีมีทางเลือกหลาย ๆ ทาง
   
4)  ผังมโนภาพถือว่าเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยบันทึกความคิดอย่างไร
  ความไม่ยุ่งยาก
  เพื่อเห็นวิธีการที่ไม่สอดคล้องกับโครงสร้าง
  การบันทึกโดยที่ต้องการจัดระบบระเบียบ
  การเห็นภาพความคิดที่หลากหลายมุมมอง
   
5)  การสร้างแผนพัฒนาความคิดเพื่อวัตถุประสงค์ใด
  เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ
  เพื่อให้มีโครงสร้างและพื้นฐานรองรับ
  เพื่อช่วยยกระดับความคิดและการกระตุ้น สมองซีกซ้าย
  เพื่อช่วยยกระดับความคิดและกระตุ้นสมอง ซีกขวา
   
6)  ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของแผนพัฒนาความคิด
  ช่วยในการเรียนรู้ต่าง ๆ ของมนุษย์
  ใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ทุกเรื่องได้สำเร็จ
  สร้างจากสิ่งที่เป็นนามธรรมสู่รูปธรรม
  ใช้ในการทาการตัดสินใจ กรณีมีทางเลือกหลาย ๆ ทาง
   
7)  ข้อเสียของการเขียนแผนพัฒนาความคิดด้วยมือ คือข้อใด
  เขียนแบบเดิม ๆ ไม่มีให้เลือกหลากหลาย
  ค่อนข้างทาได้ช้า แต่แก้ไขข้อมูลได้ง่ายกว่า
  ค่อนข้างทาได้ช้า ลบและแก้ไขข้อมูลยากและเสียเวลา
  ใครเขียนก็ไม่ได้ ต้องเขียนเอง เพราะอ่านลายมือไม่ออก
   
8)  หลักการสำคัญของแผนที่ความคิดประกอบด้วย สิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด
  คำหลักแกนกลาง
  แนวคิดหลัก ๆ 5–10 แนวคิด
  คำลูกที่โยงเข้ามาหาคำหลักแกนกลาง
  การประเมินถึงมาตรฐานและน้ำหนัก ของข้อมูลต่าง ๆ
   
9)  การเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map) นำเสนอได้หลายรูปแบบ ยกเว้นข้อใด
  แผนผังก้างปลา
  แผนผังรุ้งกินน้ำ
  แผนผังใยแมงมุม
  แผนผังแบบกิ่งไม้
   
10)  การเขียนแผนพัฒนาความคิดควรเริ่มต้นจากจุดใดเป็นอันดับแรก
  จุดศูนย์กลาง
  จุดเล็ก ๆ ไปหาจุดศูนย์กลาง
  เขียนจากเรื่องเล็ก ให้เป็นเรื่องใหญ่
  เขียนจุดใดก่อนก็ได้ แล้วแต่ความถนัด